ขั้นตอนการทำหัวโขน Khon Mask Making

Posted in Uncategorized on September 17, 2008 by thai4563

ดนตรีประกอบ Music

Posted in Uncategorized on September 16, 2008 by thai4563

ดนตรีประกอบโขน
ในการแสดงโขนนั้นเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงโขน ต้องใช้วงปี่พาทย์ ซึ่งเป็น ดนตรีที่ใช้ประกอบการเล่นมหรสพไทยหลายประเภท เช่น หนังใหญ่ หุ่น ละคร เป็นต้น ซึ่งขนาดของวงก็แล้วแต่ อาจจะเป็นวงปี่พาทย์เครื่องห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่ คำว่า “ปี่พาทย์” (หรือ “พิณพาทย์”) หมายถึง เครื่องประโคมอย่างหนักอันมีเครื่องตีและเครื่อง เป่า คือ ปี่ – ฆ้อง – กลอง เป็นหลัก (ไม่มีเครื่องสาย) ที่เรียกว่าปี่พาทย์เพราะใช้ปี่เป็น ตัวนำวง (สุจิตต์ วงษ์เทศ. 2532 : 118)
ลักษณะวงปี่พาทย์เครื่องห้า ประกอบด้วยเครื่องดนตรี ดังนี้
1. ระนาดเอก
2. ฆ้องวงใหญ่
3. ตะโพน
4. กลองทัด
5. ปี่ใน
6. ฉิ่ง
นอกจากนี้อาจจะมีเครื่องประกอบจังหวะเพิ่มเติมอีกเช่น กรับและโกร่ง หากในการแสดงงานพระราชพิธีหรืองานใหญ่ที่ใช้คนจำนวนมากอาจขยายเป็นวงปี่พาทย์ เครื่องคู่ หรือปี่พาทย์เครื่องใหญ่ก็ได
Music
AS above stated, there is a third factor which contributes to the success of the Khon, namely the orchestra. Formerly the essentials of a khon orchestra consisted merely of five pieces, known as The Five. With the later developments of orchestral organization the number has grown in accordance with the nature and setting of the piece to be performed. Performers of the orchestra must be proficient not only with all the stock melodies and marches, etc., but also with the movements of the classic dance. The onus of the orchestra devolves upon the player of the ranad, who leads on most occasions and the player of the sphon who sets the pace of the movements. In later years, there has been interspersed into the khon considerable singings in the fashion of the Court lak on and extra singers have to be augmented into the composition of the chorus. The khon as it is performed now, therefore, consists of four categories of participants namely: the dancers, the recite that also does the ceraca, the singers and the orchestra.

หัวโขน KHON MASK

Posted in Uncategorized on September 16, 2008 by thai4563

หัวโขน
หัวโขน เป็นเครื่องใช้สำหรับศีรษะและปิดบังส่วนหน้าที่คล้ายกับหน้ากาก แต่หัวโขนจะมีลักษณะที่แตกต่างออกไปตรงที่สร้างหุ่นจำลองรูปทรงใบหน้าและศีรษะ ทั้งหมด โดยผู้แสดงสามารถสวมครอบศีรษะจะห่อหุ้มส่วนใบหน้าและส่วนหัวมิดชิด และเจาะช่องเป็นรูกลมที่ตาของหน้ากากให้ตรงกับนัยน์ตาของผู้แสดง เพื่อให้นักแสดงมองเห็นการแสดง
หัวโขน อาจแบ่งตามประเภทของหัวโขนที่ใช้สวมอย่างละ 2 จำพวก คือ ยักษ์ยอด ยักษ์โล้น และลิงยอด ลิงโล้น นอกจากนี้หัวโขนก็ยังแบ่งออกได้ตามชนิดของหัวโขนซึ่งมีลักษณะต่างๆ กัน ซึ่งจะแบ่งเป็นฝ่ายลงกา และฝ่ายพลับเพลาดังนี้
1. พญาวานร
หนุมาน-พญาวานร

ลักษณะหัวโขน หน้าวานรปากอ้าสีขาวผ่องหัวโล้นสวมมาลัยทองมีเขี้ยวแก้วอยู่กลางเพดานปากนอก จากนี้ยังมีการทำหนังโขนหน้าหนุมานอีหลายแบบ คือตอนแผลงฤทธิ์มีหน้า เป็นหน้าปกติหน้าและมีหน้าเล็กหน้าที่ด้านหลังตอนทารองเครื่องอาสาพระรามล่อลวง ทศกัณฐ์สวม
มงกุฎยอดชัยตอนออกบวชสวมชฎายอดฤๅษีนอกจากนี้ยังมีการทำหน้าหนุมานเป็นหน้ามุกอีกด้วย
Hanuman
Hanuman, a noble monkey-warrior, born from Phra Isuan’s power and powerful weapon carried by Phra Pai to place into the mouth of Nang Sawaha. When manifesting his magic power; Hanuman will have four faces and eight arms.
Hanuman donning a traveling headdress while on a voluntary trip to deceive Tosakanth for a box that contains the Demon King’s heart.
Hanuman donning Yodchai headdress when rewarded by Phra Ram with the title, “Phaya Anuchit Chakrit Pipatpongsa”, ruler of the City of Nopburi.
สุครีพ-พญาวานร

ลักษณะหัวโขน หน้าวานรหากอ้าสีแดง หรือสีแดงชาด สวมชฎายอดบัด (บางแห่งว่าชฎายอดเดินหน)
ตามประวัติกล่าวว่าเป็นโอรสพระอาทิตย์กับนางกาลอัจนาต้องคำสาปจากฤๅษีโคดมเช่นเดียวกับพญากากาศ บทบาทสำคัญ คือ อาสาทำให้เขาพระสุเมรุซึ่งเอยงด้วยรามสูรจับอรชุนฟาดให้ตั้งตรงดังเดิม
Sukreep, a noble monkey warrior and a son of Phra In and Nang Kalaatchana. Sukreep is a regent of the City of Keedkhin. After the battles of Longka, he is appointed with the title, Phaya Waiyawongsa Mahasuradet.
ชามพูวราช

ลักษณะหัวโขน หน้าวานรปากอ้าสีแดงชาด สวมมงกุฎชัย ในตอนที่แปลงกายเป็นหมีมีชื่อว่า ชมพูหมี หัวโขนทำเป็นหน้าหมี สวมเทริดยอดน้ำเต้า
ตามประวัติกล่าวว่าพญาวานรนี้มีกำเนิดจาไม้ไผ่ซึ่งผุดขึ้นขณะฤๅษีสุขวัฒนบำเพ็ญณาน ฤๅษีได้นำไปถวายพระอิศวร ทรงนำไปทำธนู ครั้นโก่งธนูหักเป็น ๒ ท่อน ต้นธนูเกิดเป็นพญาอสูรชื่อเวรัมภ์ ปลายธนูเกิดเป็นพญาวานรชื่อนิลเกสรหรือชามพูวราช
Chompuphan
Chompuphan, a noble monkey warrior created by Phra Isuan from his dead skin and sweat, and given to Pali as his adopted son. He is an expert in potent medicines.
นิลพัล

ลักษณะหัวโขน หน้าวานรปากอ้าสีน้ำรัก หรือสีดำขลับ หัวโล้น สวมมาลัยทอง เป็นบุตรพระกาลซึ่งพระอิศวรประทานให้ไปอยู่ช่วยกิจการบ้านเมืองของท้าวมหาชมพู บทบาทของนิลพัทในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นผู้คุมวานรเมืองชมพูจองถนนข้ามกรุงลงการ่วมกับหนุมาน ซึ่งคุมวานรเมืองขีดขิน เกิดทะเลาะวิวาทกัน พระรามลงโทษให้ไปรักษาเมืองขีดขิน โดยส่งเสบียงให้กองทัพเดือนละครั้ง อาสาเป็นทัพหน้าครั้งกบฏกรุงลงกา เสด็จศึกได้ศักดิ์เป็นพญาอภัยพัทวงศ์อุปราชเมืองชมพู
Nilamond
Nilamond, a leading monkey warrior, a citizen of the City of Chompu. After the battles of Longka, he is rewarded with the position of regent of the City of Chompu.
2.พญายักษ์
ทศกัณฐ์

ลักษณะหัวโขน ทำเป็นหน้ายักษ์ 3 ชั้น คือ ชั้นแรกมีหน้าปกติ 1 หน้า และมีหน้าเล็ก ๆ เรียงกัน 3 หน้า ตรงท้ายทอง ชั้นที่ 2 ทำหน้าเป็นหน้าเล็ก ๆ 4 หน้า เรียงสีด้าน ชั้น 3 ทำเป็น หน้าพรหมด้านหน้า หน้ายักษ์ด้านหลัง ปากแสยะตาโพลง สวมมงกุฎยอดขัย หน้าทศกัณฐ์มี 3 สี คือ ปกติใช้หน้าสีเขียว ตอนนั่งเมืองใช้หน้าสีทอง และมีทำหน้าสีน้ำรักยังไม่มีปรากฏใช้ใน การแสดง
นอกจากนี้ยังมีหัวโขนทศกัณฐ์แปลงเป็นพระอินทร์ในการรบครั้งสุดท้าย ลักษณะทำเป็นหน้าพระ 3 ชั้น สีเขียว มีเขี้ยว ซึ่งเป็นหัวโขนเพียงหัวเดียวในเมืองไทยมีประดิษฐ์ขึ้นในสมัยรัชการที่ 2 และยัง มีหัวโขนหน้าทศกัณฐ์ที่ทำด้วยทองแดงปิดทองประดับกระจกอีก 1 หัว
The Longka are listed in rank which are:
-Yak Yai e.g. Tosakanth.
-Yak Noi e.g. Kumpakan, Indrachit.
-Yak Tang Muang e.g. Mayarap, Saeng Athit, Sathasul.
-Yak sena e.g. Mahotorn, Poavanasun.
-Sena Yak e.g. Kalasul, Karoonraj.
-Demon soldiers.
Tosakanth
Tosakanth, the Demon King, the third monarch of Longha City. He is the reincarnation of Nontuk, the first child of King Lastian and Nang Ratchada and he has seven siblings.
นางสำมนักขา

นางสำมนักขา เป็นยักษ์ กายสีเขียว เป็นน้องร่วมมารดาคนสุดท้องของทศกัณฑ์ สามีชื่อชิวหา ต่อมาชิวหาถูกทศกัณฑ์ขว้างจักรตัดลิ้นขาดถึงแก่ความตาย นางสำมนักขาจึงเป็นม่าย มีความว้าเหว่ ออกเที่ยวไปจนได้พบพระราม นางเห็นพระรามรูปงามก็นึกรักอยากได้เป็นคู่ครอง ถึงกับตบตีนางด้วยความหึงหวง จึงถูกพระลักษณ์ตัดหู จมูก มือและเท้าแล้วไล่ไป นางสำมนักขากลับไปฟ้องพี่ชาย คือ ทูษณ์ ขร และตรีเศียร ว่าถูกพระรามข่มเหง แต่ยักษ์ทั้ง 3 ตน ก็ถูกพระรามสังหาร นางสำมนักขาจึงไปหาทศกัณฑ์ ชมโฉมนางสีดาให้ฟัง จนทศกัณฑ์นึกอยากได้เป็นชายา จนกระทั่งไปลักพานางสีดามา
Samanakha
Samanakha, a maiden demon, Tosakanth’s sister. She plays a major role in initiating the battles between Phra Ram and Tosakanth.
พิเภก

พิเภก คือ เทพบุตรเวสสุญาณ จุติลงมาเกิดเพื่อช่วยพระรามปราบทศกัณฐ์ พิเภกเป็นยักษ์มีกายสีเขียว เป็นน้องของทศกัณฐ์ มีความรู้ทางโหราศาสตร์อย่างยอดเยี่ยม สามารถทำนายเหตุการณ์ล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำ เมื่อทศกัณฐ์ลักพานางสีดามา พิเภกได้ทูลตักเตือนและแนะนำให้ส่งนางสีดาคืนไป ทำให้ทศกัณฐ์โกรธมาก จนขับไล่พิเภกออกไปจากเมืองพิเภกจึงไปสวามีภักดิ์กับพระราม ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์จนกระทั่งพระรามชนะสงคราม หลังจากเสร็จศึกแล้ว พระรามได้สถาปนาให้พิเภกเป็นกษัตริย์ครองกรุงลงกา มีพระนามว่า ท้าวทศคีรีวงศ์
Pipek
Pipek or Phra Vessuyarn in his previous life, reborn Tosakanth’s half brother by Phra Isuan’s command. He is meant to spy on the Demon’s side for the benefit of Phra Ram.
3.ตัวพระ
พระราม

ลักษณะหัวโขน หน้าพระสีเขียวนวล ตอนครองเมืองสามมงกุฎยอดชัยหรือพระมหามงกุฎ ตอนเดินดงสวมมงกุฎยอดเดิน ตอนทรงพรตสวมชฎายอดฤๅษี กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาองค์ที่ 4 กายสีเขียวนวล 1 พักตร์ 2 กร คือพระนารายณ์อวตาร ลงมาเกิดเป็นโอรสของท้าวทศรถกับนาง
ปกติพระรามทรงศรเป็นอาวุธ เวลาสำแดงอิทธิฤทธิ์ปรากฏเป็น ๔ กร ทรงเทพอาวุธเช่นเดียวกับพระนารายณ์ คือ ตรี คทา จักร และสังค์มีมเหสีชื่อนางสีดา ซึ่งได้แก่ พระลักษมีเทวีแบ่งภาคมาช่วยพระรามปราบปรามเหล่าอสูรร้ายผู้คอยทำลายความสงบสุขของโลกมี โอรสชื่อพระมงกุฎ ออกเดินดงตามที่นางไกยเกษีขอพรเป็นเวลา ๑๔ ปี ในขณะเดินดงนั้น ทศกัณฐ์มาลัดนางสีดา และเป็นเหตุให้เกิดสงครามล้างพวกยักษ์ เมื่อเสร็จศึกกรุงลงกาแล้วพระรามยัง ต้องพลัดพรากจากนางสีดาอีก ด้วยเหตุเข้าใจผิดและระแวง จนกระทั่งพระอิศวรต้องมาไกล่เกลี่ย
Phra Ram
Born at midnight, Phra Ram’s complexion is thus depicted as green. His personal weapon is an arrow, a gift from Phra Isuan. As the reincarnation of Phra Narai destined to conquer Tosakanth, who has caused havoc to the deities and humans, Phra Ram is considered a hero-king who abides by the principles of Rajadham, the Ten Virtues of the Monarch. He is well known for his supreme gratitude and his willingness to sacrifice his personal happiness to keep his father’s promise. He is well loved by his relatives and subjects. He remains faithful to his wife and loves all his brothers and followers equally.
พระลักษณ์

ลักษณะหัวโขน หน้าพระสีทอง สวมมงกุฎยอดเดินหน มงกุฎยอดชัยหรือพระมหามงกุฎ ตอนทรงพรตสวมชฎาหรือชฎายอดฤๅษี เป็นอนุชาของพระราม กายสีทอง ๑ พักตร์ ๒ กร คือ บัลลังก์นาคและสังค์ของพระนารายณ์อวตาร ลงมาเกิดเป็นโอรสท้าวทศรถกับนางสมุทรชา เมื่อพระรามออกเดินดงขอตามเสด็จด้วย ตรากตรำทำศึกขับเคี่ยวกับเหล่าอสูรตลอดระยะเวลา ๑๔ ปี ความในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ตอนพระลักษมณ์ขอตามเสด็จว่า
Phra Lak
Born at daybreak, Phra Lak has a golden complexion. He was Phaya Ananta Nagaraj, Phra Narai’s throne in a past life. His filial loyalty led him to join Phra Ram and Sida to the forest. He rendered supports to his brother throughout the fourteen years of warfare. After the end of the war, he returned to the City with his brother. Phra Lak is a symbol of self-sacrifice and loyalty. A good example is the bow-lifting contest of Sida’s suitors, when Phra Lak was able to move the bow but refused to lift it because he wanted his brother to win instead.

หัวโขน KHON MASK

Posted in Uncategorized on September 16, 2008 by thai4563

หัวโขน
หัวโขน เป็นเครื่องใช้สำหรับศีรษะและปิดบังส่วนหน้าที่คล้ายกับหน้ากาก แต่หัวโขนจะมีลักษณะที่แตกต่างออกไปตรงที่สร้างหุ่นจำลองรูปทรงใบหน้าและศีรษะ ทั้งหมด โดยผู้แสดงสามารถสวมครอบศีรษะจะห่อหุ้มส่วนใบหน้าและส่วนหัวมิดชิด และเจาะช่องเป็นรูกลมที่ตาของหน้ากากให้ตรงกับนัยน์ตาของผู้แสดง เพื่อให้นักแสดงมองเห็นการแสดง
หัวโขน อาจแบ่งตามประเภทของหัวโขนที่ใช้สวมอย่างละ 2 จำพวก คือ ยักษ์ยอด ยักษ์โล้น และลิงยอด ลิงโล้น นอกจากนี้หัวโขนก็ยังแบ่งออกได้ตามชนิดของหัวโขนซึ่งมีลักษณะต่างๆ กัน ซึ่งจะแบ่งเป็นฝ่ายลงกา และฝ่ายพลับเพลาดังนี้
1. พญาวานร
หนุมาน-พญาวานร

ลักษณะหัวโขน หน้าวานรปากอ้าสีขาวผ่องหัวโล้นสวมมาลัยทองมีเขี้ยวแก้วอยู่กลางเพดานปากนอก จากนี้ยังมีการทำหนังโขนหน้าหนุมานอีหลายแบบ คือตอนแผลงฤทธิ์มีหน้า เป็นหน้าปกติหน้าและมีหน้าเล็กหน้าที่ด้านหลังตอนทารองเครื่องอาสาพระรามล่อลวง ทศกัณฐ์สวม
มงกุฎยอดชัยตอนออกบวชสวมชฎายอดฤๅษีนอกจากนี้ยังมีการทำหน้าหนุมานเป็นหน้ามุกอีกด้วย
Hanuman
Hanuman, a noble monkey-warrior, born from Phra Isuan’s power and powerful weapon carried by Phra Pai to place into the mouth of Nang Sawaha. When manifesting his magic power; Hanuman will have four faces and eight arms.
Hanuman donning a traveling headdress while on a voluntary trip to deceive Tosakanth for a box that contains the Demon King’s heart.
Hanuman donning Yodchai headdress when rewarded by Phra Ram with the title, “Phaya Anuchit Chakrit Pipatpongsa”, ruler of the City of Nopburi.

ประเภทโขน TYPE OF KHON

Posted in Uncategorized on September 16, 2008 by thai4563

วิธีการแสดงโขนมีหลายชนิด แตกต่างกันด้วยวิธีการแสดง ดังจะอธิบายไปตามลำดับ ดังนี้
The repertoire for KHON is drawn from Ramakien (Ramayana). The KHON performances are categorized as described below
โขนกลางแปลง
โขนกลางแปลง เป็นโขนที่แสดงกับพื้นดินที่เป็นลานกว้างใหญ่ สมมติพื้นที่นั้นเป็นกรุงลงกาด้านหนึ่ง เป็นพลับพลาพระรามด้านหนึ่ง ด้านกรุงลงกาสร้างเป็นปราสาทราชวัง มีกำแพงจำลองด้วยไม้และกระดาษ ด้านพลับพลาก็สร้างพลับพลามีรั้วเป็นค่ายจำลองเช่นเดียวกัน ปลูกร้านสูงประมาณ 2 เมตร ตั้งวงปี่พาทย์ด้านละวง คนเจรจามีด้านละ 2 คนเป็นอย่างน้อย วงปี่พาทย์บรรเลงประกอบกับการแสดงด้านที่วงประจำอยู่ แต่ถ้าเป็นส่วนกลาง เช่น การรบกันกลางสนามหรืออื่น ๆ ก็แล้วแต่วงไหนอยู่ใกล้ก็เป็นผู้บรรเลง โขนกลางแปลงมีแต่พากย์กับเจรจาเท่านั้น
Khon Klang Plaeng
Khon Klang Planeg is the open-air mask play. Assuming one side of the area to be the city of Lonka, whereas the other side as Phra Rams royal quarter fenced as an imitative camp. There is a 2 m high platform built for a gamelan at each side of stage area. If there is a battle scene at the central zone, the nearer gamelan is responsible to play the music. Khon Klang Plaeng is preceded by recitation and dialogues only.
โขนนั่งราว
โขนนั่งราว เป็นการแสดงบนโรง เลียนแบบโขนกลางแปลง คือ ปลูกโรงสูงพอตาคนยืนดู ปูกระดานพื้นเป็นรูปสี่เหลียมผืนผ้า ฉากแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางยาวประมาณ 10 เมตร ทำภาพนูน เขียนสีเป็นป่าเขา ส่วนนอกด้านขวา (ของโรง) ยาวประมาณ 3 เมตร ทำภาพนูนเขียนสีเป็นรูปพลับพลาและรั้ว สมมติเป็นพลับพลาพระราม ส่วนนอกด้านซ้ายยาวประมาณ 3 เมตร ทำภาพนูนเขียนสีเป็นปราสาทราชวังมีกำแพง สมมติเป็นกรุงลงกา มีประตูเข้าออก 2 ประตู อยู่คั่นระหว่างฉากส่วนกลางกับส่วนนอกข้างละประตู ตรงหน้าฉากออกมา ห่างฉากประมาณ 1.5 เมตร ทำราวไม้กระบอก มีเสารับสูงประมาณ 60 เซนติเมตร ยาวเสมอขอบประตูข้างหนึ่งมาถึงขอบประตูอีกข้างหนึ่ง หัวท้ายของโรงทั้ง 2 ข้าง ปลูกร้านให้สูงกว่าพื้นโรงประมาณ 1 เมตร ตั้งวงปี่พาทย์ข้างละวง
วิธีแสดง ราวไม้กระบอกที่อยู่หน้าฉากนั้นเป็นที่สำหรับนั่ง วิธีนั่งถ้าหันหน้าไปทางขวาหรือซ้ายก็เอาเท้าข้างนั้นพับนั่งบนราว อีกเท้าหนึ่งห้อยลงเหยียบพื้นโรง ฝ่ายพระรามจะนั่งค่อนมาข้างขวา พระราม (ตัวประธานฝ่ายมนุษย์) นั่งสุดราวด้านขวา หันหน้าไปทางซ้าย บริวารทั้งหมดนั่งบนราวตามลำดับเรียงไป หันหน้ามาทางขวา และฝ่ายลงกา (ฝ่ายยักษ์) ตัวประธานนั่งสุดราวด้านซ้าย หันหน้ามาทางขวา บริวารทั่งหมดนั่งหันหน้ามาทางซ้าย ส่วนการแสดงในตอนที่ไม่นั่ง ก็แสดงได้ทั่วพื้นโรง
ดำเนินเรื่องด้วยพากย์กับเจรจาเท่านั้น เหมือนโขนกลางแปลง

ท่ารำ เป็นท่ารำที่ครบถ้วนตามแบบแผนศิลปะการรำ ทำบทตามถ้อยคำและรำหน้าพาทย์ตามเพลงปี่พาทย์
วิธีบรรเลงปี่พาทย์ ทั้ง 2 วงจะผลัดกันบรรเลงวงละเพลง ตั้งแต่โหมโรงเป็นต้นไปจนจบการแสดง
Khon Nung Rao
Khon Nung rao is performed on the stage at the height of eyesight. The floor is in rectangle shape. The stage is flanked by 3 parts of curtain, which is painted a swell scene of mountain and forests. At outside, on the right of the stage, is a 3 m long with swell paintings of fences and royal quarter of Phra Ram. On the left is a swell painting of a palace and castles, assumed to be the city of Lonka. Two main entrances separating central zone scene and outside scenes. In front of the scene, 1.5 m apart, there is a wooden-tube rail, which is supported by a 60 cm long pole, placed towards the scene. At each end of the stage, there is a 1 m high platform for a gamelan.
The wooden-tube rail serves as seating. When sitting and facing left, the left leg crosses the rail. Do the same when facing right. Phra Ram and his followers sit on the right. Phra Ram himself sits on the far right end of the rail, facing left. His followers orderly sit towards the rails mid point. At Lonka side (for the demon) is on the left of the rail. The leader, facing right, sits on the left end of the rail. The followers sit before him, facing left. The non-seated performance can be displayed at all area of the stage. The performance, as in Khon Klang Plaeng, is preceded by recitation and dialogues only. Forms of dancing are perfectly performed as innovated in the traditional Master of the dance. The performers have to adapt their steps and poses to the recitations and songs of the chorus. The orchestras (gamelan) alternately perform the music from the beginning (Hom rong) to the end of the performance.

โขนโรงใน
โขนโรงใน คือโขนผสมกับละครใน สถานที่แสดงเป็นโรงอย่างโรงละครใน มีฉากเป็นม่านผืนเดียว มีประตูออก 2 ข้าง แต่เตียงสำหรับนั่งมี 2 เตียง ตั้งขวางใกล้กับประตูข้างละเตียง มีปี่พาทย์ 2 วง อาจตั้งตรงหลังเตียงออกไป หรือกระเถิบมาทางโรงนิดหน่อยแล้วแต่สถานที่จะอำนวย
ดำเนินเรื่องด้วยบทพากย์ บทเจรจา และบทร้อง มีทั้งคนพากย์ คนเจรจา ต้นเสียง ลูกคู่ และคนบอกบท (ร้อง)
วิธีแสดง เริ่มต้นอย่างละครใน คือตัวเอกออกนั่งเตียง

แล้วร้องหรือพากย์ดำเนินเรื่องการแสดงต่อไปก็แล้วแต่ว่าตอนใดจะแสดงแบบโขนตอนใดจะแสดงแบบละคร เช่น
ปี่พาทย์ท่าเพลงวา พลลิงออกมานั่งตามที่พระรามพระลักษณมณ์ ออกมานั่งเตียง ต้นเสียงร้องเพลงช้าปี่ใน ส่งเพลง 1 เพลง ร้องร่าย และปี่พาทย์บรรเลงเพลงเสมอ ท้ายเพลงเสมอตัวโขนเข้าโรงหมด ปี่พาทย์ทำเพลงกราวนอกโขนลิงออก แล้วสิบแปดมงกุฎและพญาวานรออก พระลักษมณ์ พระรามออก รำกราวนอก เสร็จแล้ว พากย์ชมรถ และปี่พาทย์บรรเลงเพลงเชิด ฯลฯ
อุปกรณ์สำคัญในการแสดงโขน ซึ่งต่างจากการแสดงละครก็คือราชรถมีตัวม้าหรือราชสีห์เทียม และกลด มีผู้ถือกางให้ตัวเอกเข้าใจว่าการที่โขนในสมัยหลัง ๆ มาจนปัจจุบัน ตัวพระและตัวเทวดาไม่สวมหัวโขนคงจะเริ่มมาตั้งแต่โขนมาร่วมผสมกับละครในเป็นโขนโรงในนี้เอง
Khon Rong Nai
Khon rong Nai is a mixture of Khon and Lakhon Nai. They are both in door performance. A single curtain is used as a scene. There are two exits. A bench is placed near each of them. A gamelan may be, depending on the setting, at the back of each bench or slightly towards the stage.
The performance is preceded by recitation, dialogue and songs, which are performed by recitations, dialogue man (Cheracha man) and choruses. Similarly begin as Lakhon Nai, that is, the leading actor sits on the bench, then carry on his/her dialogue or song as the story proceeds, either as Khon or Lakhon. For example;
When the gamelan is performing Pleng WA, simians sit at their positions. Phra Ram and Phra Lak sit on the bench. Leading chorus sings Pleng Cha Pee Nai, a swan song, narrative singing. Khon actors return to backstage when final rhythm ends. When the orchestra play Krao Nok ( a classical tune), simian role Khon performers turn up, followed by a crook gang, a simian King, Phra Lak and Phra Ram. Then, Krao Nok dancing is performed, continued with Pak Chom rot and manipulating song.
An important Khon instrument which is distinctive from Lakhons is a royal chariot and a state umbrella, held by an attendant over the leading actor.
It has become the preferred habit for those taking leading roles as well as roles of celestial being not to wear masks since Khon joined with Lakhon Nai, which is called Khon Rong Nai.
โขนหน้าจอ
โขนหน้าจอ วิธีการแสดง ทุก ๆ อย่างเหมือนโขนโรงในทุกประการ ผิดกันแต่สถานที่แสดงเท่านั้น เป็นโรงที่มีลักษณะต่างกัน
โรงของโขนหน้าจอ ก็คือโรงหนังใหญ่ที่เปลี่ยนแปลงให้สะดวกแก่การแสดงโขนเท่านั้น สิ่งที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากโรงหนังใหญ่ก็คือ มีประตูเข้าออก 2 ประตู ใต้จอตอนกลางมีมู่ลี่หรือลูกกรงถี่ ๆ เพื่อให้คนร้องซึ่งนั่งอยู่ภายในมองเห็นตัวโขน จอตอนนอกประตูทั้ง 2 ข้างเขียนภาพ ข้างขวาเขียนภาพพลับพลาพระราม ข้างซ้ายเขียนภาพปราสาทราชวัง สมมติเป็นกรุงลงกา ตั้งเตียงห่างจากประตูออกมาพอสมควร 2 เตียง ข้างละเตียง วงปี่พาทย์สมัยก่อนตั้งด้านหน้าของที่แสดง สมัยปัจจุบันยกไปตั้งหลังจอตรงหลังคนร้อง

โขนทุกประเภท ตั้งแต่โขนกลางแปลงมาจนถึงโขนหน้าจอ มีเครื่องดนตรีพิเศษอย่างหนึ่งประกอบ คือ “โกร่ง” เป็นไม้ไผ่ลำโตยาวประมาณ 3-4 เมตร มีเท้ารองหัวท้ายสูงประมาณ 8 เซนติเมตร วางกับพื้น ผู้ที่นั่งเรียงกันประมาณ 4-5 คน ถือไม้กรับทั้งสองมือตีตามจังหวะ ใช้เฉพาะเพลงที่ต้องการความครึกครื้น เช่น เพลงกราวนอก กราวใน เชิด ตั้งอยู่หลังฉากหรือจอ พวกแสดงโขนที่มิได้แสดงเป็นผู้ตี
Khon Na Chor
Khon Na Chor (mask-play before the scene) is a performance that is identical to Khon Rong Nai. It is only a variety in which the presentation takes place.
The theatre for Khon Na Chor is an adapted version of that for Nung Yai (big screen). Two entrances are added, a bamboo curtain under the screen makes the Khon actor visible for a chorus. The screens outside both entrances are painted; one side is a royal court for Phra Ram, the other is Lon Ka palaces and castles. One bench is placed near each door. The orchestra used to be in front of the chorus who is at the back of the stage.
All types of Khon, from khon klang plaeng to Khon Na Chor, have a special musical instrument called Krong. Krong is made from big bamboo stems with 3-4 meters long, supported at both ends, 8 centimeters above the floor. 4-5 persons sit in line, holding Krub (a wooden rhythm instrument) in both hands, make the rhythms. Only mirthful songs such as Krao Nok, Krao Nai, or Cherd are performed at the back of the screen. Khon performers have no participation in the rhythm produced.
โขนฉาก
โขนฉาก มีลักษณะดังนี้ คือ
โขนฉากแสดงบนเวที เปลี่ยนฉากตามเนื้อเรื่อง เช่นเดียวกับละครดึกดำบรรพ์

วิธีการแสดงเหมือนโขนโรงในทุกประการ นอกจากแบ่งเนื้อเรื่องให้เป็นตอนเข้ากับฉากเท่านั้น ถ้าสถานที่แสดงมีที่แสดงที่หน้าม่านได้ เวลาปิดม่านก็อาจมีการแสดงหน้าม่าน เพื่อเชื่อมเนื้อเรื่องให้ติดต่อกันก็ได้
Khon Chak
Khon chak is the mask play on the stage. The screen changes as the story proceeds. The method of performance is the same as Khon Rong Nai. The story is organized to match the already set up scene. If the place has enough space before the curtain for the play, when the curtain is closed, there may be the continuous play before the curtain. So the story is continuously preceded.

ประเภทโขน TYPE OF KHON

Posted in Uncategorized on September 16, 2008 by thai4563

วิธีการแสดงโขนมีหลายชนิด แตกต่างกันด้วยวิธีการแสดง ดังจะอธิบายไปตามลำดับ ดังนี้
The repertoire for KHON is drawn from Ramakien (Ramayana). The KHON performances are categorized as described below
โขนกลางแปลง
โขนกลางแปลง เป็นโขนที่แสดงกับพื้นดินที่เป็นลานกว้างใหญ่ สมมติพื้นที่นั้นเป็นกรุงลงกาด้านหนึ่ง เป็นพลับพลาพระรามด้านหนึ่ง ด้านกรุงลงกาสร้างเป็นปราสาทราชวัง มีกำแพงจำลองด้วยไม้และกระดาษ ด้านพลับพลาก็สร้างพลับพลามีรั้วเป็นค่ายจำลองเช่นเดียวกัน ปลูกร้านสูงประมาณ 2 เมตร ตั้งวงปี่พาทย์ด้านละวง คนเจรจามีด้านละ 2 คนเป็นอย่างน้อย วงปี่พาทย์บรรเลงประกอบกับการแสดงด้านที่วงประจำอยู่ แต่ถ้าเป็นส่วนกลาง เช่น การรบกันกลางสนามหรืออื่น ๆ ก็แล้วแต่วงไหนอยู่ใกล้ก็เป็นผู้บรรเลง โขนกลางแปลงมีแต่พากย์กับเจรจาเท่านั้น
โขนกลางแปลง
โขนกลางแปลง เป็นโขนที่แสดงกับพื้นดินที่เป็นลานกว้างใหญ่ สมมติพื้นที่นั้นเป็นกรุงลงกาด้านหนึ่ง เป็นพลับพลาพระรามด้านหนึ่ง ด้านกรุงลงกาสร้างเป็นปราสาทราชวัง มีกำแพงจำลองด้วยไม้และกระดาษ ด้านพลับพลาก็สร้างพลับพลามีรั้วเป็นค่ายจำลองเช่นเดียวกัน ปลูกร้านสูงประมาณ 2 เมตร ตั้งวงปี่พาทย์ด้านละวง คนเจรจามีด้านละ 2 คนเป็นอย่างน้อย วงปี่พาทย์บรรเลงประกอบกับการแสดงด้านที่วงประจำอยู่ แต่ถ้าเป็นส่วนกลาง เช่น การรบกันกลางสนามหรืออื่น ๆ ก็แล้วแต่วงไหนอยู่ใกล้ก็เป็นผู้บรรเลง โขนกลางแปลงมีแต่พากย์กับเจรจาเท่านั้น
Khon Klang Plaeng
Khon Klang Planeg is the open-air mask play. Assuming one side of the area to be the city of Lonka, whereas the other side as Phra Rams royal quarter fenced as an imitative camp. There is a 2 m high platform built for a gamelan at each side of stage area. If there is a battle scene at the central zone, the nearer gamelan is responsible to play the music. Khon Klang Plaeng is preceded by recitation and dialogues only.
โขนนั่งราว
โขนนั่งราว เป็นการแสดงบนโรง เลียนแบบโขนกลางแปลง คือ ปลูกโรงสูงพอตาคนยืนดู ปูกระดานพื้นเป็นรูปสี่เหลียมผืนผ้า ฉากแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนกลางยาวประมาณ 10 เมตร ทำภาพนูน เขียนสีเป็นป่าเขา ส่วนนอกด้านขวา (ของโรง) ยาวประมาณ 3 เมตร ทำภาพนูนเขียนสีเป็นรูปพลับพลาและรั้ว สมมติเป็นพลับพลาพระราม ส่วนนอกด้านซ้ายยาวประมาณ 3 เมตร ทำภาพนูนเขียนสีเป็นปราสาทราชวังมีกำแพง สมมติเป็นกรุงลงกา มีประตูเข้าออก 2 ประตู อยู่คั่นระหว่างฉากส่วนกลางกับส่วนนอกข้างละประตู ตรงหน้าฉากออกมา ห่างฉากประมาณ 1.5 เมตร ทำราวไม้กระบอก มีเสารับสูงประมาณ 60 เซนติเมตร ยาวเสมอขอบประตูข้างหนึ่งมาถึงขอบประตูอีกข้างหนึ่ง หัวท้ายของโรงทั้ง 2 ข้าง ปลูกร้านให้สูงกว่าพื้นโรงประมาณ 1 เมตร ตั้งวงปี่พาทย์ข้างละวง
วิธีแสดง ราวไม้กระบอกที่อยู่หน้าฉากนั้นเป็นที่สำหรับนั่ง วิธีนั่งถ้าหันหน้าไปทางขวาหรือซ้ายก็เอาเท้าข้างนั้นพับนั่งบนราว อีกเท้าหนึ่งห้อยลงเหยียบพื้นโรง ฝ่ายพระรามจะนั่งค่อนมาข้างขวา พระราม (ตัวประธานฝ่ายมนุษย์) นั่งสุดราวด้านขวา หันหน้าไปทางซ้าย บริวารทั้งหมดนั่งบนราวตามลำดับเรียงไป หันหน้ามาทางขวา และฝ่ายลงกา (ฝ่ายยักษ์) ตัวประธานนั่งสุดราวด้านซ้าย หันหน้ามาทางขวา บริวารทั่งหมดนั่งหันหน้ามาทางซ้าย ส่วนการแสดงในตอนที่ไม่นั่ง ก็แสดงได้ทั่วพื้นโรง
ดำเนินเรื่องด้วยพากย์กับเจรจาเท่านั้น เหมือนโขนกลางแปลง
ท่ารำ เป็นท่ารำที่ครบถ้วนตามแบบแผนศิลปะการรำ ทำบทตามถ้อยคำและรำหน้าพาทย์ตามเพลงปี่พาทย์
วิธีบรรเลงปี่พาทย์ ทั้ง 2 วงจะผลัดกันบรรเลงวงละเพลง ตั้งแต่โหมโรงเป็นต้นไปจนจบการแสดง
Khon Nung Rao
Khon Nung rao is performed on the stage at the height of eyesight. The floor is in rectangle shape. The stage is flanked by 3 parts of curtain, which is painted a swell scene of mountain and forests. At outside, on the right of the stage, is a 3 m long with swell paintings of fences and royal quarter of Phra Ram. On the left is a swell painting of a palace and castles, assumed to be the city of Lonka. Two main entrances separating central zone scene and outside scenes. In front of the scene, 1.5 m apart, there is a wooden-tube rail, which is supported by a 60 cm long pole, placed towards the scene. At each end of the stage, there is a 1 m high platform for a gamelan.
The wooden-tube rail serves as seating. When sitting and facing left, the left leg crosses the rail. Do the same when facing right. Phra Ram and his followers sit on the right. Phra Ram himself sits on the far right end of the rail, facing left. His followers orderly sit towards the rails mid point. At Lonka side (for the demon) is on the left of the rail. The leader, facing right, sits on the left end of the rail. The followers sit before him, facing left. The non-seated performance can be displayed at all area of the stage. The performance, as in Khon Klang Plaeng, is preceded by recitation and dialogues only. Forms of dancing are perfectly performed as innovated in the traditional Master of the dance. The performers have to adapt their steps and poses to the recitations and songs of the chorus. The orchestras (gamelan) alternately perform the music from the beginning (Hom rong) to the end of the performance.

โขนโรงใน
โขนโรงใน คือโขนผสมกับละครใน สถานที่แสดงเป็นโรงอย่างโรงละครใน มีฉากเป็นม่านผืนเดียว มีประตูออก 2 ข้าง แต่เตียงสำหรับนั่งมี 2 เตียง ตั้งขวางใกล้กับประตูข้างละเตียง มีปี่พาทย์ 2 วง อาจตั้งตรงหลังเตียงออกไป หรือกระเถิบมาทางโรงนิดหน่อยแล้วแต่สถานที่จะอำนวย
ดำเนินเรื่องด้วยบทพากย์ บทเจรจา และบทร้อง มีทั้งคนพากย์ คนเจรจา ต้นเสียง ลูกคู่ และคนบอกบท (ร้อง)
วิธีแสดง เริ่มต้นอย่างละครใน คือตัวเอกออกนั่งเตียง แล้วร้องหรือพากย์ดำเนินเรื่องการแสดงต่อไปก็แล้วแต่ว่าตอนใดจะแสดงแบบโขนตอนใดจะแสดงแบบละคร เช่น
ปี่พาทย์ท่าเพลงวา พลลิงออกมานั่งตามที่พระรามพระลักษณมณ์ ออกมานั่งเตียง ต้นเสียงร้องเพลงช้าปี่ใน ส่งเพลง 1 เพลง ร้องร่าย และปี่พาทย์บรรเลงเพลงเสมอ ท้ายเพลงเสมอตัวโขนเข้าโรงหมด ปี่พาทย์ทำเพลงกราวนอกโขนลิงออก แล้วสิบแปดมงกุฎและพญาวานรออก พระลักษมณ์ พระรามออก รำกราวนอก เสร็จแล้ว พากย์ชมรถ และปี่พาทย์บรรเลงเพลงเชิด ฯลฯ
อุปกรณ์สำคัญในการแสดงโขน ซึ่งต่างจากการแสดงละครก็คือราชรถมีตัวม้าหรือราชสีห์เทียม และกลด มีผู้ถือกางให้ตัวเอกเข้าใจว่าการที่โขนในสมัยหลัง ๆ มาจนปัจจุบัน ตัวพระและตัวเทวดาไม่สวมหัวโขนคงจะเริ่มมาตั้งแต่โขนมาร่วมผสมกับละครในเป็นโขนโรงในนี้เอง
Khon Rong Nai
Khon rong Nai is a mixture of Khon and Lakhon Nai. They are both in door performance. A single curtain is used as a scene. There are two exits. A bench is placed near each of them. A gamelan may be, depending on the setting, at the back of each bench or slightly towards the stage.
The performance is preceded by recitation, dialogue and songs, which are performed by recitations, dialogue man (Cheracha man) and choruses. Similarly begin as Lakhon Nai, that is, the leading actor sits on the bench, then carry on his/her dialogue or song as the story proceeds, either as Khon or Lakhon. For example;
When the gamelan is performing Pleng WA, simians sit at their positions. Phra Ram and Phra Lak sit on the bench. Leading chorus sings Pleng Cha Pee Nai, a swan song, narrative singing. Khon actors return to backstage when final rhythm ends. When the orchestra play Krao Nok ( a classical tune), simian role Khon performers turn up, followed by a crook gang, a simian King, Phra Lak and Phra Ram. Then, Krao Nok dancing is performed, continued with Pak Chom rot and manipulating song.
An important Khon instrument which is distinctive from Lakhons is a royal chariot and a state umbrella, held by an attendant over the leading actor.
It has become the preferred habit for those taking leading roles as well as roles of celestial being not to wear masks since Khon joined with Lakhon Nai, which is called Khon Rong Nai.
โขนหน้าจอ
โขนหน้าจอ วิธีการแสดง ทุก ๆ อย่างเหมือนโขนโรงในทุกประการ ผิดกันแต่สถานที่แสดงเท่านั้น เป็นโรงที่มีลักษณะต่างกัน
โรงของโขนหน้าจอ ก็คือโรงหนังใหญ่ที่เปลี่ยนแปลงให้สะดวกแก่การแสดงโขนเท่านั้น สิ่งที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากโรงหนังใหญ่ก็คือ มีประตูเข้าออก 2 ประตู ใต้จอตอนกลางมีมู่ลี่หรือลูกกรงถี่ ๆ เพื่อให้คนร้องซึ่งนั่งอยู่ภายในมองเห็นตัวโขน จอตอนนอกประตูทั้ง 2 ข้างเขียนภาพ ข้างขวาเขียนภาพพลับพลาพระราม ข้างซ้ายเขียนภาพปราสาทราชวัง สมมติเป็นกรุงลงกา ตั้งเตียงห่างจากประตูออกมาพอสมควร 2 เตียง ข้างละเตียง วงปี่พาทย์สมัยก่อนตั้งด้านหน้าของที่แสดง สมัยปัจจุบันยกไปตั้งหลังจอตรงหลังคนร้อง
โขนทุกประเภท ตั้งแต่โขนกลางแปลงมาจนถึงโขนหน้าจอ มีเครื่องดนตรีพิเศษอย่างหนึ่งประกอบ คือ “โกร่ง” เป็นไม้ไผ่ลำโตยาวประมาณ 3-4 เมตร มีเท้ารองหัวท้ายสูงประมาณ 8 เซนติเมตร วางกับพื้น ผู้ที่นั่งเรียงกันประมาณ 4-5 คน ถือไม้กรับทั้งสองมือตีตามจังหวะ ใช้เฉพาะเพลงที่ต้องการความครึกครื้น เช่น เพลงกราวนอก กราวใน เชิด ตั้งอยู่หลังฉากหรือจอ พวกแสดงโขนที่มิได้แสดงเป็นผู้ตี
Khon Na Chor
Khon Na Chor (mask-play before the scene) is a performance that is identical to Khon Rong Nai. It is only a variety in which the presentation takes place.
The theatre for Khon Na Chor is an adapted version of that for Nung Yai (big screen). Two entrances are added, a bamboo curtain under the screen makes the Khon actor visible for a chorus. The screens outside both entrances are painted; one side is a royal court for Phra Ram, the other is Lon Ka palaces and castles. One bench is placed near each door. The orchestra used to be in front of the chorus who is at the back of the stage.
All types of Khon, from khon klang plaeng to Khon Na Chor, have a special musical instrument called Krong. Krong is made from big bamboo stems with 3-4 meters long, supported at both ends, 8 centimeters above the floor. 4-5 persons sit in line, holding Krub (a wooden rhythm instrument) in both hands, make the rhythms. Only mirthful songs such as Krao Nok, Krao Nai, or Cherd are performed at the back of the screen. Khon performers have no participation in the rhythm produced.
โขนฉาก
โขนฉาก มีลักษณะดังนี้ คือ
โขนฉากแสดงบนเวที เปลี่ยนฉากตามเนื้อเรื่อง เช่นเดียวกับละครดึกดำบรรพ์
วิธีการแสดงเหมือนโขนโรงในทุกประการ นอกจากแบ่งเนื้อเรื่องให้เป็นตอนเข้ากับฉากเท่านั้น ถ้าสถานที่แสดงมีที่แสดงที่หน้าม่านได้ เวลาปิดม่านก็อาจมีการแสดงหน้าม่าน เพื่อเชื่อมเนื้อเรื่องให้ติดต่อกันก็ได้
Khon Chak
Khon chak is the mask play on the stage. The screen changes as the story proceeds. The method of performance is the same as Khon Rong Nai. The story is organized to match the already set up scene. If the place has enough space before the curtain for the play, when the curtain is closed, there may be the continuous play before the curtain. So the story is continuously preceded.